สื่อบันทึกเสียง(audio recording media)
Somsit Jitstaporn,Ph.D,Assoc.Prof.
วิธีการบันทึกเสียงมีหลายวิธีและมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนามาเป็นลำดับ
ในปี 1796 ช่างทำนาฬิกาชาวสวิสชื่อ Antoine Favre ได้เสนอแนวคิดของเขาเรื่องกล่อง(ทรงกระบอก)เสียงเพลง(musical box) ซึ่งแนวคิดนี้ใช้เป็นวิธีแรก ๆ ของการบันทึก melody
เครื่องเล่นแผ่นเสียง ( phonograph หรือ gramophone) ผู้คิดค้นคือโทมัส เอดิสัน(Thomas Edison) เมื่อปี 1877 ซึ่งในยุคนั้นยังเป็นการบันทึกเป็นแท่งทรงกระบอกอยู่ในยุคแรก ๆ
ต่อมาในปี 1887 โดย Emile Berliner จึงได้คิดค้นการบันทึกลงเป็นแผ่นเสียง มีร่องเสียง เพื่อให้เกิดการสั่นสะเทือนของเข็ม เรียกว่า gramophone record แรก ๆ หมุนด้วยความเร็ว 78 rpm(รอบต่อนาที) ต่อมาจึงมีความเร็วต่ำลงคือ 45 และ 33 1/3 rpm
วัลดิมาร์ พูลเสน(Valdemar Poulsen) ชาวดัช เป็นคนคิดค้นหลักการบันทึกเสียงด้วยหลักการของการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กและได้จดสิทธิบัตรในปี 1898 ซึ่งในช่วงแรก ๆ ยังเป็นการบันทึกลงบนเส้นลวด
เครื่องเล่นแผ่นเสียง ( phonograph หรือ gramophone) ผู้คิดค้นคือโทมัส เอดิสัน(Thomas Edison) เมื่อ8 ธันวาคม ปี 1877 ซึ่งในยุคนั้นยังเป็นการบันทึกเป็นแท่งทรงกระบอกอยู่ในยุคแรก ๆ สามารถบันทึกเสียงของมนุษย์ได้ เครื่องของเอดิสันได้พัฒนาจากเครื่องโทรเลขที่ใช้เป็นรหัสมอร์ส
เทปบันทึกเสียงได้รับการพัฒนาครั้งแรกในเยอร์มัน และ สถานีวิทยุ BBC ได้นำเทปบันทึกเสียงมาใช้ครั้งแรกในรายการเมื่อวันคริสต์มาส์ ปี 1932 ในยุคแรก ๆ การบันทึกเสียงด้วยเส้นเทปมีขนาดความกว้าง
เทปแบบ open reel หรือ reel to reel (7½" reel of ¼" recording tape) use 1950s-60s
เทปแม่เหล็ก(magnetic tape) ที่เรารู้จักกันทุกวันนี้เป็นการพัฒนาในเยอร์มันตั้งแต่ประมาณปี 1930 โดยนาย C. Lorenz แห่งบริษัท AEG
Stereo 8-track Recorder
เทปคาทริดจ์ สเตอริโอ 8 แทรค ปัจจุบันเลิกผลิตแล้ว
แคสเซทเทปขนาด 1/4 นิ้ว บริษัทฟิลิปส์ผลิตครั้งแรกเมื่อปี คศ. 1963,
ชนิด เอลคาสเซท(Elcaset)มีลักษณะคล้ายเทปแบบแคสเซท แต่มีขนาดเนื้อเทปกว้างกว่า(1/4 นิ้ว) ซึ่ง Sony ได้ผลิตมาเมื่อปี 1976
ไมโครแคสเซท
เทป multitrack
ADAT สำหรับการบันทึกแบบดิจิตอล
ในปี 1980s,วิธีการบันทึกในระบบดิจิตอลไ้ด้เริ่มมีการแนะนำเข้ามา แรก ๆ ไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนักสำหรับในตลาด consumerเพราะเกรงในเรื่องการ copy หรือทำซ้ำที่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ แต่การบันทึกในระบบดิจิตอลยังคงใช้ในกลุ่ม professional เช่นใช้ DAT ใช้บันทึกลง hard-disk แล้ว burn ลง CD หรือ CD-R’s
การบันทึกเสียงบนฟิล์มภาพยนตร์
เกิดขึ้นราว ๆ ปี 1900 และมีการจดสิทธิบัตรเมื่อปี 1906 สำหรับการบันทึกเสียงลงบนฟิล์มภาพยนตร์ โดย Lauste แต่ในปี 1923 de
การบันทึกเสียงในระบบดิจิตอล
เครื่องบันทึกเสียงดิจิตอลเครื่องแรกเป็นแบบ reel to reel ของบริษัท Denon ในปี 1972, ต่อมาเป็นของ Soundstream ปี1979 และของ Mitsubishi ในเทคโนโลยีดิจิตอลทีเรียกว่า PCM recording ต่อมาเพียงไม่กี่ปีก็มี studio มากมายที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น เทคโนโลยีแรก ๆ มีการใช้การบันทึกลงในม้วนเทปโทรทัศน์ อย่างเช่น U-matic หรือเทปโทรทัศน์แบบอื่น ๆ อีกหลาย format โดยใช้หลักการของหัวเทปหมุนแบบเดียวกับเทคโนโลยี video tape
ในปี 1991 บริษัท Alesis ได้ผลิตเทปดิจิตอลที่เรียกว่า ADAT และเป็นที่ไ้ด้ัรับความนิยมตาม studio
ในช่วง 1990 – 2000 ก็มีการพัฒนาไฟล์เสียง เป็น MP3
Digital Audio Tape
1. การบันทึกเสียงในระบบ Analog
เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลในขดลวดที่พันอยู่กับแท่งเหล็กก็จะทำการสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นมา
เมื่อ หัวเทปทำหน้าที่บันทึกเสียงจะมีความเข้มของสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำสนามแม่ เหล็กของเส้นเทปให้เกิดการเรียงตัวใหม่ตามลักษณะของสัญญาณที่บันทึกเข้าไป
ภาพหัวเทปที่ติดตั้งอยู่ในเครื่อง Kenwood ทางซ้ายมือของหัวเทปเป็นสำหรับลบ
ตำแหน่งหัวเทปจะวางเรียงจากหัวลบ(erase head) หัวบันทึก(record head) และหัวเล่น(playback head)
เครื่องเทปที่ดี ๆ มักจะแยกหัวเทปบันทึกกับเล่นไว้ต่างหัวเทปกันแต่ถ้าเครื่องที่มีราคาถูกหรือ ต้องการประหยัดเนื้อที่ก็อาจจะใช้หัวบันทึกกับเล่นเป็นหัวเทปเดียวกันเพราะ การทำงานจะไม่พร้อมกันอยู่แล้ว แต่ถ้าเป็นหัวเทปที่อยู่แยกกันสามารถหฟังสัญญาณที่บันทึกแล้วได้ทันทีในขณะที่กำลังบันทึกเสียงอยู่
2. การบันทึกเสียงในระบบดิจิตอล
การบันทึกเสียงะระบบดิจิตอลมีมานานแล้ว
ในการบันทึกระบบดิจิตอล เสียงจะถูกบันทึกข้อมูลเป็นแบบตัวเลข ซึ่งตัวเลขเหล่านี้จะเป็นดิจิตอลโค๊ด(digital code) หรือที่เรียกว่า บิต(bits) ซึ่งกระบวนการบันทึกนี้เรียกว่า sampling rate ซึ่งค่าของ sampling rate จะบอกถึงคุณภาพของเสียงด้วย และเมื่อต้องการฟังเสียงทีบันทึกนั้นจะถูกถอดรหัสออกมาเพื่อเปลี่ยนเป็นเสียง ซึ่งการถอดรหัสนี้จะทำด้วยความเร็วเป็นพันครั้งต่อวินาที ซึ่งเราเรียกการถอดรหัสนี้ว่า PCM(Pulse Code Modulation)
Sampling Rate
หมายถึงค่าความละเอียดในการบันทึกโค๊ตตัวเลขลงไป ยิ่งมีค่ามากเสียงก็จะยิ่งดี หมายความว่าภายใน 1 วินาทีค่า sampling rate ยิ่งมากเท่าไรย่อมได้คุณภาพเสียงที่ดีมากขึ้น ซึ่งค่า sampling rate ที่ใช้ในการบันทึีกเสียงอย่างเช่นในห้องบันทึกเสียงจะนิยมอยู่ที่ 44.1 kHz และ 48 kHz ซึ่งค่า sampling rate ยิ่งมากเท่าไรก็จะยิ่งใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำมากขึ้นเท่านั้นแต่คุณภาพเสียงก็จะดีขึ้นด้วย
ค่าบิต(bit – rate)
เปรียบได้กับความคมชัดของภาพในการถ่ายภาพ ในเรื่องของเสียงค่า bit-rate สูงจะยิ่งทำให้เสียงยิ่งดีและคมชัด ซึ่งเครื่องเสียงระบบดิจิตอลในปัจจุบันนิยมใช้ระบบบ 24 บิต
เป็นกระบวนการแปลงสัญญาณที่เป็นแอนนาลอก(เช่นไมโครโฟน เสียงดนตรี ฯ )ให้เป็นดิจิตอลแล้วแปลงกับมาเป็นแอนนาลอกอีกครั้ง
ADC(Analog to digital converter)
ขบวนการแปลงสัญญารที่เป็นแอนนาลอกให้เป็นดิจิตอล
DAC(Digital to analog converter)
ขบวนการแปลงสัญญาณดิจิตอลให้เป็นแอนนาลอก
Digital overload
ในระบบแอนนาลอก การ overload ของสัญญาณอาจจะเพียงสัญญาณพร่าเพี้ยนหรือยังพอรับได้อย่างไม่พร่าเพี้ยน แต่ในระบบดิจิตอลนั้นถ้าเกินระดับ วงจร ADC จะไม่สามารถรับได้ แต่เครื่องที่ดีๆ ก็จะมี limiter(soft limiter) ซึ่งทำงานโดยอัตโนมัติเมื่อมีสัญญาณเข้ามาแรงเกินกว่าจะที่กำหนดไว้ได้อยู่ในระดับหนึ่ง(เท่านั้น)
Digital Tape Recorder (เทปบันทึกระบบดิจิตอล)/Digital Recorder(เครื่องบันทึกเสียงระบบดิจิตอล)
ในปัจจุบันเครื่องบันทึกเสียงระบบดิจิตอลมีทั้งประเภทที่ใช้เทปและประเภทที่ไม่ใช้เทป Tapeless recorder (ระบบไม่ใช้เทป)
เช่นใช้ hard disk, IC, แผ่นดิสก์, MD(Mini- disk recorder), ดังนั้นจึงเรียกว่า Digital Recorder แทน
สัญญาณดิจิตอล กับสถาบันที่กำหนดมาตรฐาน
เนื่องจากการส่งถ่ายข้อมูลในระบบดิจิตอลนั้นมีหลายรูปแบบด้วยกัน ผู้กำหนดมาตรฐานหลัก ๆ จะมี 2 สมาคมได้แก่
AES(The Audio Engineer Society)ของสหรัฐอเมริกา และ EBU(The European Broadcaster’s
ชนิดของขั้วต่อดิจิตอลที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
AES/EBU มีลักษณะเป็นขั้้วต่อแบบสามขา(cannon connector)
SPDIF(Sony Phillips Digital Interface Format)
SPDIF เป็นมาตรฐานของการส่งข้อมูลเสียงดิจิตอลคุณภาพสูงโดยไม่มีการวงจรแปลงสัญญาณจาก analog เป็น digital แต่อย่างใด การใช้งานจะใช้กับอุปกรณ์ Hi-Fi อย่างเช่น DVD player, CD player, Mini=Disc, Sound card เป็นต้น
SPDIF มี 2 แบบคือแบบ Coaxial กับแบบ Optical
แบบ coaxial เป็น interface ที่ใช้ขั้วต่อแบบ RCA และสาย coaxial 75 โอห์ม
แบบ Optical เป็น interface ที่ใช้สาย fiber optic โดยมีขั้วต่ออยู่ 2 แบบคือ TosLink กับแบบ Mini Optical
TosLink ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่องเล่น CD, DVD และ DAT
แบบ mini optical 3.5 มม.ส่วนใหญ่ใช้กับ เครื่องเล่น CD และ MD
ชนิดของเครื่องบันทึกเสียง
1. แบ่งตามลักษณะม้วนเทปที่ใช้
1.1. ม้วนเปิด(Open Reel หรือ Reel to Reel)
1.2. คาร์ทริดจ์( Cartridge)
AKAI 8 tracks cartridge
1.3. cassette
1.4. Microcassette
1.5. Elcaset
2. แบ่งตามทิศทางของเสียง
2.1. Stereo
2.2. Mono
2.3. Multi track
Tascam DA-38 - Digital 8-track recorder. Records on Hi-8 tape
3. แบ่งตามระบบสัญญาณบันทึกเสียง
3.1. Analogue
สื่อบันทึกเสียงแบบแอนนาลอก(Analog Audio Recording Media) เป็นสื่อที่มีมาก่อนนานแล้ว ในปัจจุบันยังมีใช้อยู่บ้าง แต่ลดน้อยลงไปบ้าง อุปกรณ์และวัสดุมีขนาดโตกว่าแบบดิจิตอล คุณภาพมีหลายระดับ
3.2. Digital
สื่อบันทึกเสียงแบบดิจิตอล(Digital Audio Recording Media)
4. แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
4.1. ชนิดมีภาคขยายในตัว
Tape Player/Recorder with 10 Watt Amplifier
4.2. Deck
4.3. Tape player
4.4. Tape recorder
4.5. Radio/Tape
4.6. Cassciever
4.7. Synchronized Tape Recorder
Califone Slide Sync Tape Recorder with 2 Different Signals
Audio Viewer Projector มีเทปซิงโครไนซ์ในตัว
mini disc reccorder
DAT recorder
DM-1 Digital Voice Reccorder
|
S-VHS Digital Audio | Formatted S-VHS Digital Audio | CD-R | CD-RDA |
Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • | BASF/EMTEC | Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • | BASF/EMTEC • Maxell • Memorex • Samsung • Sony • TDK • 3M/Imation |
| |||
CD-RW | Oval Business Card CD-R (5-minute/52mb) | Square Business Card CD-R (3-minute/30mb) | |
BASF/EMTEC • Maxell • Memorex • Samsung • Sony • TDK • 3M/Imation | Memorex • Neato | Memorex • Neato | Lexar • Memorex • Microtech • |
| |||
Digital Audio Tape | Reel to Reel | 3/4" Digital Umatic | |
Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • | Sony (MSD-1200) | Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • Sony | Ampex/Quantegy • Sony • 3M |
| |||
Hi8 Digital Audio | Formatted Hi8 Digital Audio | ||
Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • | BASF/EMTEC | Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • Maxell • Memorex • Samsung • TDK | Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • HHb • Maxell • Memorex • Samsung • TDK |
| |||
DVD RW | DVD +ReWritable | ||
Ampex/Quantegy • BASF/EMTEC • HHb • Maxell • Memorex • Samsung • TDK • Verbatim | Verbatim | IBM • Lexar • Memorex • Microtech • Sandisk | Lexar • Microtech • Sandisk • Sony |
| |||
MiniDisc | MiniDisc Data | Digital Micro Cassette | |
Ampex/Quantegy • | HHb • Sony • TDK | Lexar • Memorex • Microtech • Sandisk | Sony |
| |||
ฃ | |||
Lexar • Memorex • Microtech • Sandisk | Lexar • Memorex • Microtech • | Ecrix • Exabyte | |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
Tascam CC-222MKII สำหรับถ่ายเทปลง CD (Recording Media: CD-R, CD-RW, CD-RDA, CD-RWDA)
เทปต้นฉบับ 4 track, 2 channel stereo ใช้ได้กับเทป Cassette C-60, C-90 Type I (Normal), Type II (CrO2/High Bias),
Type IV (Metal) - Playback Only
DVD
เมื่อก่อนนี้เรียก Digital Video Disc แต่ในปัจจุบันมีการนำไปใช้งานในการบันทึกข้อมูล digital มากในปัจจุบันจึงเรียกว่า Digital Versatile Disc และมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วมาก ทำให้เกิด format มากมาย จึงขอสรุปที่สำคัญ ๆ ที่ควรทราบมีดังนี้
DVD Audio
คุณภาพจะสูงกว่า CDs ซึ่ง DVD Audio จะมีคุณภาพเสียงที่ดีกว่ารวมทั้ง Dolby Digital AC-3 และ ระบบเสียง Surround สามารถนำไปใช้งานได้อย่างกว้างขวาง บันทึกได้นาน 2 ชั่วโมง
DVD Video
ใชับันทึกภาพยนตร์ ที่
DVD-ROM
เป็นเทคโนโลยีแบบเดียวกับ DVD Video แต่จะใช้งานกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายกว่า คาดว่า DVD-ROM น่าจะเข้ามาแทนที่ CD-ROM ในไม่ช้านี้
DVD-RAM
เป็นสื่อ digital ที่เป็นลักษณะ virtual memory สามารถ random read-write access ถ้าความจุเป็น 2.6 GB จะสามารถเพิ่มให้เป็น 4.7 per side และ double site ปัจจุบันได้ถึง 9.4 GB สามารถเขียนข้อมูลได้ประมาณไม่น้อยกว่า 1 แสนครั้ง โดยไม่จำเป็นต้อง formatted เวลาบันทึกหรือ copy สามารถลากเม้าท์(drag and drop) file ได้เลย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าจะต้อง play กับเครื่อง DVD-RAM drive เท่านั้นซึ่งจะไม่สามารถใช้งานกับเครื่อง DVD Player อื่น ๆ ได้
DVD-R
พัฒนาโดย Pioneer ซึ่ง DVD-R มีความจุ 4.7 GB per side คล้าย ๆ กับ DVD-ROM แต่สามารถเขียนได้เพียงครั้งเดี่ยว เดิมทีเดียวต้องการผลิตมาเพื่องานแบบ professional ที่เรียกว่า version DVD-R(A) ส่วน version สำหรับ consumer ทั่ว ๆไปคือ DVD-R(G) และแผ่น professional version ที่ว่านี้้จะแตกต่างกันอีกอย่างก็คือใช้สำหรับทำเป็น master และป้องกันการ Copy สำหรับ DVD-R สามารถใช่้งานกับ DVD player และ DVD-ROM drive ได้
DVD-RW
เป็นแบบที่ต่อยอดของ DVD-R ที่่สามารถอ่านและเขียนได้ มีความจุ 4.7 GB per side สามารถเขียนได้ประมาณ 1,000 ครั้ง และก็เหมือนกับ DVD-R ที่ DVD-RW นี้สามารถุเล่นได้กับเครื่อง DVD เกือบทุกประเภท
DVD+RW
เป็น format ที่พัฒนาโดย Hewlett-Packard, Mitsubishi Chemical, Philips, Richo, Sony, Dell, Compaq และ Yamaha ซึ่ง DVD+RW เป็น format ที่ re-writabel และสามารถสนับสนุนให้ทำงานให้เข้ากันได้กับก DVD-ROM drives, DVD-Video player ทั้งหลายได้ (แต่ไม่ support กับ DVD-RAM) แต่สามารถเขียน CD-R, CD-RW ได้
DVD+RW มีความจุ 4.7 GB สามารถเขียนได้ประมาณ 1,000 ครั้ง(ถ้าเป็นแบบที่เขียนได้ครั้งเดียวเรียกว่า DVD+R)
Blu-ray Disc(BD)
Blue Ray บันทึกข้อมูลได้ตั้งแต่ 25GBต่อ layer ปัจจุบันได้ 100GB 4 layer ซึ่งทาง TDK ได้ประกาศเมื่อ August 2006 นี้ว่าสามารถพัฒนาได้ 200GB จำนวน 6 layer
อย่างไรก็ตาม Blu-Ray ยังมีราคาแพงอยู่
ขณะนี้ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ Blu-Ray เริ่มออกสู่ตลาดบ้างแล้วแม้แต่ notebook อย่างของ Sony Vivo
(Sony VAIO VGN-AR11S Blu-ray Notebook)
DVD | ||||||
Single-layer | 4.7GB | |||||
Dual-layer | 8.4GB | |||||
HD-DVD | ||||||
Single-layer | 15GB | |||||
Dual-layer | 30GB | |||||
Blu-ray | ||||||
Single-layer | 25GB | |||||
Dual-layer | 50GB | |||||
Physical size | Single layer capacity | Dual layer capacity | Sextuple layer capacity | |||
12 cm, single sided | 50 GB (46.6 GiB) | 200 GB (33.3 GB/layer) TDK | ||||
12 cm, double sided | 50 GB (46.6 GiB) | 100 GB (93.2 GiB) | | |||
8 cm, single sided | 7.8 GB (7.3 GiB) | 15.6 GB (14.5 GiB) | | |||
8 cm, double sided | 15.6 GB (14.5 GiB) | 31.2 GB (29 GiB) | | |||
บริษัท Victor Company of Japan, Ltd. (JVC) ได้ประกาศว่าทางบริษัทได้พัฒนา Blu-ray/ DVD combo ROM disc technology เป็นรายแรกที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็น video ได้ทั้ง high definition และ standard definition ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 5GB มี 3 layer คาดว่าจะมีการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์มากขึ้น
Tape Types
Type I, Low noise = Ferric oxide (FeO2) ราคาถูก
Type II, Chromium oxide(CrO2)
Type III FeCrO2 FerricCromium
Type IV Metal
เราจะซื้อ DVE แบบไหนดี ในท้องตลาดมีหลายแบบ
4. Media Storage
Table 4. 1. Capacity and Speed for Read/Writable Devices | ||||
Drive Type | Manufacturer | Interface | Capacity | Maximum Sustained Data Transfer Rate (MB/sec) |
Tape | Several | IDE | 10/20-GB (native/compressed) | 1 |
Floppy | Several | IDE | 1.44 MB | 0.06 |
Zip | Iomega | Parallel and SCSI | 100 MB; 250 MB | 1.4; 2.4 |
SuperDisk | Imation | Parallel, IDE, and USB | 120 MB | 0.57 |
HiFD | Sony | Parallel and USB | 200 MB | 1.8-3.3 |
Jaz | Iomega | SCSI | 2 GB | 5.5 |
Orb | Castlewood | IDE, SCSI-2, and USB | 2.2 GB | 12.2 |
CD-RW | Several | IDE and SCSI-2 | 650 MB | 2.5 (16X CD-R write); 1.5 (10X CD-RW write); 6.3 (40X CD-ROM read) |
DVD-R | Several | IDE and SCSI-2 | 4.7 GB | 2.5 (2X write) |
+RW | Several | IDE and SCSI-2 | 4.7 GB | 2.5 (2X write) |
DVD-RW | Several | IDE and SCSI-2 | 4.7 GB | 2.5 (2X write) |
DVD-RAM | Several | IDE and SCSI-2 | 4.7 GB | 2.5 (2X write) |
MO | Several | SCSI | 1.28 MB to 9.1 GB | 5 |
เทคโนโลยีที่เรียกว่า FMD(Fluorescent Multilayer Disk/Card) เป็น optical storage technology จากบริษัทConstellation 3D Inc ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้เทคโนโลยีวัสดุเรืองแสง(fluorescent) เคลือบไปที่ผิวของแผ่นในแต่ละ layer ทำให้สามารถเพิ่มจำนวน layer ได้มากถึง 15 dual-layer และสามารถทำได้มากกว่า 100 layer ซึ่งแต่ละ layer จะจุได้ 4.7GB เท่ากับ DVD และในอนาคตเมื่อใช้ Blue Laser จะสามารถเพิ่มความจุได้มากกว่า 1 Terabyte
FMD-25 (8 layers 24 GB)= 38 CD
FMD-50 (16 layers 46 GB = 75 CD
FMD-Z(100 layers 300 GB = 469 CD
- 25GB บน single disc, 50GB on dual layer disc
- ใช้ blue laser technology แทน red laser technology
- 20GB ซึ่ง 32GB กำลังพัฒนาอยู่
- ใช้หลักการเช่นเดียวกับ blue laser แต่คลื่นแสงสั้นกว่า red laser
- ขณะนี้มี รุ่นสาธิตแล้ว
- สามารถบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นได้ถึง 200GB และมีอายุข้อมูลด้ากกว่า 100 ปี และสามารถ scan ข้อมูล 100GB ได้ภายในเวลา 5 วินาที
เมื่อเทปเดิน
หัวเทป แบบ Auto Reverse ชนิด cassette stereo
เครดิตจาก ; http://www.cybergogy.com/somsit/423231EdTEquipOpr/AudioRecordingMedia%5B11Feb06%5D.html
0 comments:
แสดงความคิดเห็น