ระบบกล้องวงจรปิดชนิดเครือข่าย (IP Camera) ตอนที่1
ระบบกล้องวงจรปิดชนิดเครือข่าย (IP Security Solutions)
เหตุผลที่ทำไมต้องเลือกกล้อง IP Camera
1. คุณภาพของสัญญาณภาพ
§ ความละเอียดสูงจากระดับ VGA ถึงระดับ Mega Pixel
§ Progressive Scan จับภาพได้คมชัดถึงแม้ว่าวัตถุจะมีการเคลื่อนไหว
2. ความยืดหยุ่นของระบบและประสิทธิภาพในการใช้งาน
§ ระบบสามารถปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงสำหรับการใช้งานในส่วนต่างๆได้ง่าย
§ ตัวกล้องไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟเลี้ยงกล้อง แต่อาศัยการจ่ายไฟเลี้ยงกล้องจากสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย (PoE Standard)
§ เหมาะสมสำหรับตึกที่ก่อสร้างใหม่ เนื่องจากระบบติดตั้งได้ง่ายและรวดเร็ว
§ เนื่องจากระบบสัญญาณภาพเป็นดิจิตอลจึงง่ายและสะดวกสำหรับการประยุกต์ใช้งาน ในส่วนของ System Integration ไม่ว่าจะเป็นการนำภาพไปตรวจจับป้ายทะเบียนรถยนต์ในโปรแกรมเพื่อประมวลผลใน ส่วนของระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆได้
§ ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของแรงงานคนและผู้ดูแลระบบ เนื่องจากระบบสามารถเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างจุดที่อยู่ห่างไกลในแต่ละที่ เพื่อมารวมไว้ที่ศูนย์ควบคุมกลางเพียงจุดเดียว โดยผ่านระบบเครือข่ายแบบมีสายหรือไร้สาย ซึ่งออกแบบตามความจำเป็นของแต่ละพื้นที่ และลักษณะของงาน
§ ระบบสามารถที่จะแบ่งปันข้อมูลต่างๆ ในแต่ละจุดที่อยู่ห่างไกลกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
(Sharing Pictures Site)
§ ระบบสามารถรองรับภาพและเสียงจากกล้องแต่ละจุดเข้าสู่ศูนย์ควบคุมกลางได้ อีกทั้งยังสามารถพูดคุยโต้ตอบกลับไปที่กล้องที่ติดตั้งไว้ในแต่ละจุดได้เลย (Two way audio)
3. เปรียบเทียบระหว่างระบบกล้องไอพีดิจิตอลกับระบบกล้องอนาล็อก
Solutions 1: Wiring Network IP Camera
เหตุผลที่ทำไมต้องเลือกกล้อง IP Camera
1. คุณภาพของสัญญาณภาพ
§ ความละเอียดสูงจากระดับ VGA ถึงระดับ Mega Pixel
§ Progressive Scan จับภาพได้คมชัดถึงแม้ว่าวัตถุจะมีการเคลื่อนไหว
2. ความยืดหยุ่นของระบบและประสิทธิภาพในการใช้งาน
§ ระบบสามารถปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงสำหรับการใช้งานในส่วนต่างๆได้ง่าย
§ ตัวกล้องไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟเลี้ยงกล้อง แต่อาศัยการจ่ายไฟเลี้ยงกล้องจากสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย (PoE Standard)
§ เหมาะสมสำหรับตึกที่ก่อสร้างใหม่ เนื่องจากระบบติดตั้งได้ง่ายและรวดเร็ว
§ เนื่องจากระบบสัญญาณภาพเป็นดิจิตอลจึงง่ายและสะดวกสำหรับการประยุกต์ใช้งาน ในส่วนของ System Integration ไม่ว่าจะเป็นการนำภาพไปตรวจจับป้ายทะเบียนรถยนต์ในโปรแกรมเพื่อประมวลผลใน ส่วนของระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆได้
§ ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของแรงงานคนและผู้ดูแลระบบ เนื่องจากระบบสามารถเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างจุดที่อยู่ห่างไกลในแต่ละที่ เพื่อมารวมไว้ที่ศูนย์ควบคุมกลางเพียงจุดเดียว โดยผ่านระบบเครือข่ายแบบมีสายหรือไร้สาย ซึ่งออกแบบตามความจำเป็นของแต่ละพื้นที่ และลักษณะของงาน
§ ระบบสามารถที่จะแบ่งปันข้อมูลต่างๆ ในแต่ละจุดที่อยู่ห่างไกลกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
(Sharing Pictures Site)
§ ระบบสามารถรองรับภาพและเสียงจากกล้องแต่ละจุดเข้าสู่ศูนย์ควบคุมกลางได้ อีกทั้งยังสามารถพูดคุยโต้ตอบกลับไปที่กล้องที่ติดตั้งไว้ในแต่ละจุดได้เลย (Two way audio)
3. เปรียบเทียบระหว่างระบบกล้องไอพีดิจิตอลกับระบบกล้องอนาล็อก
ข้อเปรียบเทียบ | ระบบกล้องอนาล็อก | ระบบกล้องไอพี ดิจิตอล |
1. ด้านระบบ | ติดตั้งง่ายสายสัญญาณมารวมไว้ที่เครื่องบันทึกเพียงจุดเดียว ( ขนาดเล็ก ) | รองรับการเชื่อมต่อในแต่ละจุดที่อยู่ห่างไกลหลายกิโลเมตรเพื่อมารวมไว้ที่ศูนย์ควบคุมสั่งการกลางเพียงจุดเดียว ( ขนาดใหญ่ ) |
2. ราคา | ราคาค่อนข้างถูกเนื่องจากไม่มีการพัฒนาฟังก์ชั่นการทำงานต่างๆเพิ่มเติม | ราคา ค่อนข้างแพง เนื่องจากมีการพัฒนาฟังก์ชั่นการใช้งานต่างๆอย่างต่อเนื่อง เช่น การส่งสัญญาณภาพและเสียงไปที่โทรศัพท์มือถือของผู้ดูแลได้ 3G Mobile |
3. ศักยภาพระบบในอนาคต | ไม่มีการพัฒนาเพิ่มเติม | มีการพัฒนาฟังก์ชั่นการทำงานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การส่งข้อมูลไร้สาย |
4. ความละเอียดของภาพ | NTSC or PAL | พัฒนาถึงระดับ Mega Pixel |
5. อัตราการส่งข้อมูล | 30 FPS ( Standard ) | สามารถปรับได้ไม่จำกัด (Unlimited) |
6. การหน่วงเวลาของสัญญาณ | ไม่มี | ขึ้นอยู่กับระบบเน็ตเวิร์คที่ติดตั้งระบบสามารถรองรับได้ถึง Gigabit/s |
7. ข้อจำกัดของสัญญาณ | จำกัดเพียงระยะ ไม่เกิน 200 เมตร โดยไม่มีตัวแปลงสัญญาณ | ไม่จำกัด สามารถติดตั้งได้ห่างไกลจากศูนย์ควบคุมได้หลายร้อยกิโลเมตรแล้วแต่ผู้ออกแบบจะกำหนดในแต่ละงาน |
Solutions 1: Wiring Network IP Camera
บทความจาก: CCTVNETWORKDESIGN: ออกแบบระบบกล้องวงจรปิดเครือข่ายระยะไกล,กล้องวงจรปิด,ออก แบบCCTV,cctvnetwork,CCTV: ระบบกล้องวงจรปิดชนิดเครือข่าย (IP Camera) ตอนที่1
http://cctvnetworkdesign.blogspot.com
Under Creative Commons License: Attribution
0 comments:
แสดงความคิดเห็น