18 ส.ค. 2553

ลำโพง(LoudSpeakers)

  ลำโพง(LoudSpeakers)
              

                                                                                    

 




                         Hi-Fi Speaker
               Horn PA Speaker
                                  PA Speaker

        Subwoofer
power speaker    

หลักการทำงานของลำโพง

ประเภทของลำโพงและชนิดของลำโพง
   
1. แบ่งตามความถี่ตอบสนอง
             
Full range  20 ~ 20,000 Hz,   100 ~ 16,000 Hz
              HiFi



              Tweeter  เช่น 5,000 Hz~20,000Hz

dom2.jpg (9837 Byte) DOM2  25 mm Dome Tweeter

bc12scs.jpg (4890 Byte) BC12SCS     Concentric Midrange-Tweeter

             
Midrange  (Squaker)   3,000 ~5,000Hz

dom8.jpg (4456 Byte)  DOM8     High Output Midrange

              Midbass


Euphoria II Mid/Bass Driver
            Midbass speaker

              Woofer 50 ~ 1,000 Hz

55nd.jpg (5653 Byte) 55ND    20" 2/3 Woofer

              SubWoofer 20~100 Hz
 

             Two-way speakers แสดงว่า มี 2 ตัวในตู้นั้น หรือในเฟรมนั้น
               

                    3 ways speaker
Polk 3-way speaker

   
2. แบ่งตามลักษณะของการทำงาน
            
Driver type;

Dynamic Loudspeaker

,Horn speaker(folded horn, straight horn)  Electrostatic
The first Quad electrostatic loudspeaker Quad's first electrostatic loudspeaker

   
3. แบ่งตามลักษณะการส่งทอดคลื่นเสียง
          ทางตรง 

    
straight horn speaker  ส่งทอดคลื่นเสียงทางตรง

ส่งทอดคลื่นเสียงทางอ้อม(folded horn)



  The year 1962 witnessed the voice transmission test of our extra-large public address speaker
   which is 6.6 m in length and 3 m in diameter.

A total of four tests were made by changing locations with the speaker set on Akashi Beach and pointed toward Awaji Island.
The longest transmission distance was 12 km.

                             
   
4. แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
          PA speaker(Public address)



, home use,

Centre Speaker

monitor

music instrument loudspeaker







Ground speaker


   Rock Subwoofer
 

    กระจายเสียงได้รอบตัว
FreeSpace ® 360 P Loudspeaker
ground loudspeaker,

  



 underwater loudspeaker

   
5. แบ่งตามลักษณะระยะการใช้งาน
         
longthrow, shortthrow,

DB19 15 watt Zone 2 projector speakers DB19 explosionproof projector loudspeaker

   
6. แบ่งตามลักษณะการติดตั้ง
         wall type, wall loudspeaker, ลำโพงตู้(ลำโพงที่อยู่ในตู้)


 
7. Power handling(ทนกำลังขับได้มากน้อย)
low power handling ทนกำลังขับได้ต่ำ
High power handling ทนกำลังขับได้สูง

power handling(การทนกำลังขับ)
เช่นลำโพง
AR จะทนกำลังขับได้สูงแต่ไม่ได้หมายความว่ามีความดังมากกว่าตัวที่มีค่าทนกำลังขับที่ต่ำกว่า

8. ประสิทธิภาพและความไว(efficiency & sensitivity)
      
spl = sound pressure level
   92 dBW    หมายความว่า เมื่อป้อนสัญญานเข้าไปที่ลำโพง 1 วัตต์ แล้วเอา

เช่น ลำโพงตัวที่ 1 spec.บอกว่า  power hadling 80 W 92dB/W
 ตัวที่ 2 บอกว่า
power handling 80 W 100 dB/W
 ตัวที่ 3 บอกว่า power handling 85 W 87dB/W

sound level meter วัดห่างจากลำโพงที่ระยะ 1 เมตร วัดได้เท่าไร  อ้อ.... ก็วัดได้ 92 dB
 

9. แบ่งตามคุณภาพ
  
Hi-Fi
   Hi-End

10. แบ่งตามลักษณะที่ต่อกับเครื่องขยายเสียงกับลำโพง
Active loudspeaker (power speaker) มีกำลังขยายในตัว
 
monitor loudspeaker

Genelec 1029A(มถ) Active Speaker

Passive loudspeaker ต้องใช้เครื่องขยายเสียง ขับลำโพง
Samson db500  Passive Loudspeaker
จุดตัดความถี่ของลำโพง
ตัวแยกความถี่เสียงของลำโพง
  
passive crossover network


passive crossover network แบบ 2 ทาง

passive crossover network แบบ 3 ทาง


   active crossover network(electronic crossover)



 การจัดระบบการขยายเสียง
single amp(amp ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงจำนวนเครื่องขยาย
เพราะ
amp ในที่นี้คือ amplification  ไม่ใช่ amplifer


bi-amp



 


Bi-Amp Hookup
 

tri -amp

quad -amp

การพิจารณาคุณลักษณะทางเทคนิค

ค่าทนกำลังขับของลำโพง มาตรฐานที่ควรรู้จัก Power Handling/Rate power                                                                                                     
                                                                       

                เราคงเคยได้ยินบางท่านกล่าวว่า ลำโพงตัวนี้กินวัตต์”  “ลำโพงตัวนี้ดัง 100วัตต์ 
สู้ตัวนี้ไม่ได้ดัง 1,000วัตต์ แล้วจะเลือกอย่างไร  การออก spec ให้หน่วยราชการต้องระวัง Sell
ศรีธนนชัย(ดูตามตัวหนังสือ) เซลยักษ์(เขี้ยวลากดิน)  ดัวย
  การพิจารณารายละเอียดทางเทคนิค
ที่กำหนดนั้นต้องพิจารณาให้รอบคอบว่าข้อมูลนั้นได้มาอย่างไร หรือว่าผู้ผลิตกำหนดภายใต้ข้อมูล
หรือการทดสอบอย่างไร  ที่เห็นอยู่ตามตลาดขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มีขนาดลำโพงแค่ไม่ถึงคืบ
แต่บอกว่า
1,200 วัตต์ จริงหรือ ?    ในขณะที่ลำโพงที่จัดคอนเสิร์ต อาจจะมีค่าตัวเลขที่บอกว่า
200 วัตต์บ้าง 400
วัตต์บ้าง หรือบางตัวกลับมีหลาย ๆ ค่าตัวเลข  อย่างไรก็ตามมาตรฐานของการวัด มาตรฐานของการทดสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งตัวเลขนั้น ๆ ย่อมต่างกัน  ส่วนลำโพงราคาถูกที่ไม่สามารถกำหนดมาตรฐานได้นั้น(เนื่องจากต้องมีค่าใช้จ่ายในการทดสอบมาตรฐาน) เราคงตัองฟังและพิจาณา
ด้วยตนเอง

การกำหนดมาตรฐานสำหรับลำโพง
              นับว่ามีสิ่งสิ่งหนึ่งที่สับสนกันมากโดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องการวัดกำลังหรือความดัง
ของลำโพง วารสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ เครื่องเสียงก็มีความหลากหลาย รวมทั้งผู้ผลิตเองต่าง
ก็อาจจะมีการใช้ค่าที่บอกถึงกำลังที่ทนได้ของ ลำโพง(power handling)ที่แตกต่างกันเช่น peak, RMS, average or program power เป็นต้น  อีกประการหนึ่งก็คือมีวิธีการคิดการคำนวณที่แตกต่างกัน ดังนั้นผลที่ได้จึงมีค่าที่แตกต่างกัน   ที่นี้ลองมาดูข้อแตกต่างกันดังกล่าวว่ามีอะไรบ้าง 

1. ค่า Power หรือค่ากำลัง
        Power คืิอค่าที่แสดงพลังงานต่อหน่วยของเวลา โดยการ วัดค่า ออกมาเป็นวัตต์(watts). กำลังของเครื่องขยาย คำนวณได้จาก โหลดหรือลำโพงที่ใช้ [load (speaker)]     
     โดยทั่วไปคิดจากสูตรโวลท์ยกกำลังสองหารด้วยอิมพีแดนซ์ ดังนี้ 

Power = 
-----

Z
     ผลของกำลังที่ได้จึงขึ้นอยู่กับโวลท์เตจที่ใช้ ดังนั้น ถ้าเราใช้ โวลท์ที่สูง ค่ากำลังที่ได้ก็จะ ออก มาสูงเช่นกัน  ถ้าเราใช้ RMS voltages  ก็จะได้ค่ากำลังเฉลี่ย (มักจะพบการอ้างอิงถึง "RMS"ที่ผิด ๆ อยู่เสมอ)   RMS หมายถึง (root-mean-square), ซึ่งเป็นวิธีคิด ค่า สัญญาณไฟฟ้าสลับ ที่คำนวณจากขั้วบวกและขั้วลบ 
2. Power tests หรือค่ากำลังทดสอบ
เพื่อที่จำทราบถึงกำลังที่ทนได้ของลำโพง วิธีหนึ่งที่จะทราบก็คือการทดสอบกำลังที่ทนได้ ก็คือค่ากำลังทดสอบ(power test). การทดสอบนี้ โดยการ ป้อนสัญญาณทดสอบที่ลำโพง ซึ่งจะใช้สัญญาณรบกวนบางประเภท(noise signal)ที่สามารถควบคุมไดนามิกได้  โดยกำหนดระยะเวลาตั้งแต่2 ถึง 100 ชั่วโมง    สัญญาณทดสอบส่วนใหญ่จะใช้  pink noise  ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะใช้สัญญาณ pink noise สำหรับการทดสอบ ลำโพง   สัญญาณที่ได้ขึ้นอยู่ในรูปของ crest factor. ก็คือดูความต่างของสัญาณที่ 6 dB นั่นเองระหว่างสัญญาณสูงสุด   ( peaks หรือcrests) เทียบกับ สัญญาณกำลังเฉลี่ย (average) ในภาพข้างล่างนี้ แสดงให้เห็น สัญญาณ 6 dB crest factor  ซึ่งตรง peak สัญญาณจะแรงกว่าระดับเฉลี่ย อีกเท่าตัวหรือ อัตราส่วน 2:1 ระหว่าง peak กับ RMS voltages, ทำให้ค่าที่ได้เทียบเท่ากับ  อัตตราส่วน 4:1 ระหว่าง peak กับ average ("RMS") power 
   สำหรับมาตรฐานการทดสอบลำโพงมีอยู่หลายมาตรฐาน แต่ที่นิยมใช้กันหรือกล่าวถึงมีดังนี้ 
      2.1. มาตรฐาน  AES2-1984  
   เป็นมาตรฐานของลำโพงที่กำหนดโดย  loudspeaker components by  สมาคมวิศวกรรมเสียง (Audio Engineering Society). เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันทั่ว ๆ ไป โดยส่วนใหญ่กำหนดสัญญา๊ณ pink noise ที่   6 dB crest factor (crest factor เป็นหน่วยที่แทนค่าอัตราส่วนระหว่างค่าสูงสุึด  (ค่า peak หรือ crest) กับค่า rms จาก waveform  ตัวอย่างเช่นสัญญาณไซน์  (sine wave) มีค่า     crest factor เท่ากับ 1.4 (or 3 dB), ดังนั้นค่าสูงสุดหรือพีค(peak value)เท่ากับ   1.414  เ่ท่าของค่า rms  ซึ่งเสียงดนตรีจะมีค่า crest factor ที่กว้างมากตั้งแต่  4-10 (or 12-20 dB)อย่างนี้ ก็หมายความว่าค่า music peaks จะสูงกว่าค่า rms ประมาณ 12-20 dB ใช้แถบกว้างของ สัญญาณ 1 octave ตัวอย่างเช่น ลำโพง เสียงทุ้ม(bass loudspeaker)  จะใช้ความถี่ของสัญญาณระหว่าง   60-600 Hz ในขณะที่ ความถีี่่สูงจะใช้ ความถี่ระหว่าง 1500-15000 Hzเป็นต้น.  
      ภาพตารางที่แสดงข้างล่างนี้เป็นกราฟแสดงความถี่ในสองย่านดังกล่าว  ซึ่ง ตามมาตรฐานของ  AES  ช่างเวลาของการทดสอบ จะใช้เวลาทดสอบ เป็นเวลา 2
ชั่วโมงแล้วจึงดูลักษณะ ความเสียหาย ที่เกิดขี้นกับลำโพง เมื่อไม่มีจึงนับว่าผ่านมาตรฐานนี้

      2.2. มาตรฐาน IEC268-1 (1985)  
 เป็นมาตรฐานที่กำหนดโดย   International Electrotechnical Commission โดยกำหนด 6 dB crest factor pink noise signal    การทดสอบใช้กำหนดเป็นเวลา 100 ชั่วโมง 
        2.3.  มาตรฐาน  EIA RS-426-A (1980)  
     เป็นมาตรฐานของสมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์   Electronic Industries Association(USA). มาตรฐาน EIA RS-426-A จะใช้เวลาการทดสอบ เป็นเวลา 8 ชั่วโมง(คือทนได้ 8 ชั่วโมงโดย ไม่เสียหาย นั่นเอง)การป้อนสัญญาณก็ยังคงใช้ 6 dB crest factor pink noise signal 
3. ชนิดของสเปคของลำโพง(Types of speaker power specifications)
       3.1. ค่ากำลังเฉลี่ย (Average power).   ที่หมายถึงค่า  "RMS" power, RMS (root-mean-square) ค่านี้เหมาะสำหรับ ค่ากำหนด กำลังของเครื่องขยายเสียงมากกว่า แต่อย่างไรก็ตามการใช้ค่า RMS ก็ยังถือเป็นค่าเฉลี่ยที่พอใช้กันได้ทั่่ว ๆ ไป     
       3.2. วัตต์ฺโปรแกรม (Programme power). เป็นค่าทดสอบของกำลังที่ได้มาจาการใช้ sweep generator  (sinewave power tests). แต่ปัจจุบันถือว่าไม่ได้ค่าที่แท้จริง  แต่ถ้าคิดคร่าว ๆ  ก็จะได้ค่าที่น้อยกว่า RMS ครึ่งหนึ่ง ซึ่งพอที่จะเป็นแนวทางสำหรับการเลือก
ขนาดกำลังของเครื่องขยายเสียงได้  เช่นลำโพงที่มีค่าเฉลี่ย(RMS  300W  ก็จะมีค่ากำลังเท่ากับ 600W programme power (2x300W)  ซึีงอาจจะเหมาะสำหรับใช้กับเครื่องขยายเสีียงที่มีกำลังออกที่  600W
  
     3.3. กำลังสูงสุด (Peak power) 
     
เป็นค่ากำลังสูงสุดโดยเฉลี่ยแล้วจะมีค่าเท่ากับสี่เท่าของค่าเฉลี่ย(rate power output)
      
ส่วนค่่าที่บอกในความหมายทำนองเดียวกับค่ากำลังสูงสุด อาจจะบอกเป็น maximum power, short-term power, และ instantaneous (ซึ่งเปรียบเสมือน  very short-term power) เป็นต้น
           จากที่กล่าวมาแล้วพอที่จะสรุปให้เห็นอัตราส่วนแต่ละชนิดของค่ากำลังได้ดังนี้ 
ชนิดของค่ากำลัง(Power)
อัตราส่วน(Ratio)
ตัวอย่างเช่น
Average
             1
300W
Programme
             2
600W
Peak
             4
 (
ไม่แน่เสมอไป!)
1200W
      3.4. Continuous. กล่าวกันง่าย ๆ ก็คือค่ากำลังที่หมายถึงการใช้งานตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากบางมาตรฐานจะหมายถึงการให้กำลังแค่ช่วงระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น
4. สาเหตุที่ทำให้ลำโพงเสียหาย หรือชำรุด
           สาเหตุที่ทำให้ลำโพงเกิดการชำรุดเสียหายได้ก็คือเป็นไปได้ทั้งที่เกิดจาก
ความร้อนและกลไกต่าง ๆ  

สาเหตุที่ทำให้เกิดความร้อนจนเป็นเหตุให้ลำโพงเสียหายได้ก็คือ :
  • ใช้กำลังขับป้อนลำโพงมากเกินไป 
  • สัญญาณที่ไม่เกี่ยวข้องกับการที่ทำให้ลำโพงเกิดเสียงเข้ามา
    รบกวนหรือป้อนเข้าสู่ลำโพง เช่นคลื่นวิทยุกำลังสูง เสียงเบส์ลึก ๆ ความถี่ต่ำมาก ๆ  หรือความถี่สูงมาก ๆ เป็นต้น  เมื่อพลังงานเหล่านี้ไม่
    สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานเสียงได้ ก็จะกลายเป็นความร้อน  
  • เครื่องขยายเสียงมีสัญญาณที่ถูกตัดทอนยอดคลื่น(clip) ซึ่งมักจะเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้ลำโพงเกิดความเสียหายได้ 
  • ไฟกระแสตรง(direct current [DC]) ที่อาจจะมาจากเครื่องขยาย เสียง  แม้ว่าในปัจจุบัน มักจะไม่ค่อยพบ แล้วก็ตาม 
  • การใช้การปรับแต่งเสียงมากเป็นพิเศษ(equalization)โดยเฉพาะ
    อย่างยิ่งความถี่สูงมาก ๆ ดังนั้นถ้าเป็นลำโพงที่เหมาะสำหรับการ ถ่ายทอดเคลื่นเสียงความถี่ต่ำแล้วเมื่อมีความถี่สูง ๆ อาจจะทำลายลำโพงให้เสียหาย ได้อันเนื่องมาจากความร้อนที่เกิดขึ้นนั่นเอง   
        เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความร้อนที่ลำโพงมากจนอาจจะทำให ้  เกิดความเสียหายได้จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องขยายเสีียงที่มีความผิดเพี้ยนสูง ๆ  ควรให้ลำโพงรับความถี่เฉพาะที่สามารถถ่ายทอดพลังเสียงได้เท่านั้น  การใช้วงจรกรองความถี่ก็อาจจะเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ป้อนความถี่เสียงให้เหมาะกับลำโพงได้ 
     ส่วนความเสียหายที่เกิดจากกลไก ได้แก่การเคลื่อนที่ของตัวไดอะแฟรม (diaphragm) หรือกรวย(cone)กรวยลำโพงหรือไดอะแฟรมจะเต้นเข้าหรือออก  ดังนั้นในกรณีที่ความถี่่ต่ำ
มาก ๆ และกำลังขับลำโพงสูง ๆ อาจจะ ทำให้ขดลวดหลุึดมานอก แก๊ป(gap)
ได้ หรือทำให้ขดลวด ไปถูกับขอบช่อง ของแก๊ปเป็นเหตุให้เกิดการลัดวงจรของขดลวด หรือขาดได ้ ดังนั้นสี่งที่ จำเป็นและควรระมัดระวังเพื่อไม่เกิดความเสียหายทางด้านกลไกก็คือการเลือกลำโพงและเครื่องขยายที่เหมาะสม

5. การเลือกกำลังของเครื่องขยายเสียง 
   โดยทั่วไปแล้วเราใช้เครื่องขยายเสียงที่มีกำลังสูงกว่าลำโพง(speaker's rated power). ทั้งนี้เพราะว่า เครื่องขยายเีสียง สามารถใช้กำลังเท่ากับ ค่ากำลังต่อเนื่อง( rated output power) ด้วยการป้อนสัญญาณรูปไซน์  (sinewave signal), ซึ่งกำลังที่ได้จะน้อยกว่าค่ากำลังที่แจ้งไว้มาก  ดังนั้นการแนะนำอย่างกว้าง ๆ ก็คือเลือกเครื่องขยายเสียง ที่มีกำลังที่รับได ้ ของลำโพงที่เป็นค่า เฉลี่ย(RMS power) ประมาณ  50%  ตัวอย่าง เช่น ลำโพงขนาด 450W (average power)อาจจะใช้ กับ เครื่องขยายที่มีขนาด กำลังขับ(output) ที่ 700W  ถ้าเราใช้เครื่องขยายเสียงที่กำลังต่ำ อาจจะ ไม่เพียงพอต่อการขับลำโพงที่สามารถรับ input ที่สูง ๆ ได้ นอกจากนี้ สัญญาณที่ป้อนอาจจะมี ความเพี้ยนหรือสัญญาณถูกclipped  อาจจะ ไปทำลายลำโพงให้เกิดความเสียหายได้

Loudspeaker Ratings
มีวิธีการวัดค่าทนกำลังของลำโพงอยู่หลายวิธีด้วยกัน แต่ละอย่างก็มีวิธีการวัดการทดสอบค่าที่แตกต่างกันไปดังนั้นค่าตัวเลขที่ ได้่จึงแตกต่างกันทั้งในเรื่องของค่าทนกำลังกับระยะเวลาที่ทนกำลังขับได้ ที่มักจะพบบ่อย ๆ มีดังนี้  
TEST
DESCRIPTION
AES
AESเป็นคำย่อของชื่อสมาคมวิศวกรรมเสียง(Audio Engineering Society)  - the equipment being tested is subjected to a broadband pink noise signal. This type of signal contains equal energy in each frequency band over the specified frequency range. Testing using such a signal is more reliable when compared with a single frequency test (RMS) as it is testing over the whole frequency range at once.
IEC
This test procedure produces similar results to the AES method - filtered noise is used with a Crest Factor of 6dB (i.e. the peaks are 4 times higher than the average level) over long test periods. The AES rating has replaced the IEC rating and both are generally accepted as being the most reliable methods of testing.
Program Power
This rating reflects the music or program material which will be replayed through the system. The program rating is 3dB above or twice the AES rating.
RMS
Root Mean Square - this test can be deceptive, particularly for high power applications as the test is carried out at just one frequency at a time. This does not put a realistic demand on the driver compared to real life use and it is therefore very difficult to compare an RMS rating to a pink noise test.

A 100 Watt "RMS" amplifier can produce a 100 Watt sine-wave into its load. With music, the total actual power would be less. With a square-wave, it would be more.
Peak Handling
The peak rating can also be misleading. The period of time the equipment is exposed to the peak signal is important - it may handle a peak of 1000W but it may burn out if exposed for more than 5 milliseconds. This can be a useful guide, but should always be accompanied with a noise test rating. The peak handling of a driver may be extracted from both the AES and IEC ratings - see Crest Factor below.
Crest Factor
The Crest Factor of a test signal is the ratio in dB between the volume of the average level and the volume of the peaks. If the Crest Factor is known for a test signal, e.g. 6dB for the IEC rating, then the peak handling can be calculated by doubling the noise rating for every 3dB of Crest Factor, e.g. an IEC rating of 200W will have a peak handling of 800W for a 6dB Crest Factor.
Power Compression
The Power Handling is not the final word in how loud a system performs. The voice coil of loudspeakers will heat up when a signal is applied to the input signals. The amplifier is not as efficient at delivering power to a hot coil and will therefore start to compensate by pushing more current around the coil. The coil heats up more and the circle of power compression begins. This translates to a drop in sound output when the speaker is operated at near maximum power input.
DIN Power
The DIN 45000 defines different methods to measure power, depending on the device under test.
Power measurement of an amplifier requires that it is properly terminated by Ohmic resistances of nominal value both at input and output. The continuous power is measured when the amplifer is supplied by its normal power supply. It must then be able to deliver the rated power at 1 kHz for at least 10 minutes while the maximum THD does not exceed 1 %. To measure the peak power the normal power supply is replaced by a regulated power supply and the time for delivering the power is reduced. Thus, higher values for peak power are obtained. You may skip measuring the peak power by simply multiplying the continuous power by 1.1.
The power bandwidth is defined as the frequency range for which 1/2 of the rated continuous power can be obtained.
DIN 45 500, CNF 97-330, EIA RS-426 and the encompassing IEC 268-5 specify not pink noise, but pink noise filtered by a filter that provides significant attenuation in the low and high frequency region of the spectrum to more closely model the long-term spectral distribution of music. Pink noise itself does not accomplish this.
การใช้

การเก็บรักษา

เอกสารอ่านประกอบเพิ่มเติม

www.rit.ac.th/.../physics2/ speaker/speaker.htm
ตัวอย่างสเปคลำโพง
http://www.electrovoice.com/electrovoice/EVfiles.nsf/lookup/Sx100plus_EDS/$File/535581.pdf

----------------------------------------------------
for class 423231 and 423350 only



เครดิตจาก;www.cybergogy.com/somsit/423231EdTEquipOpr/speakers.htm

0 comments:

แสดงความคิดเห็น

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...
Twitter Delicious Facebook Digg Stumbleupon Favorites More