Microphone
แวะไปเว็บ 1 มาได้ความรู้ดีๆ เลยเอามาฝากครับ เครดิต คนเขียนบทความด้านล่างครับ
ไมโครโฟนทำงานอย่างไร ?
ประเภทของไมโครโฟน มีลักษณะการแบ่งหลายลักษณะดังนี้
2.1. แบ่งตามวัสดุที่ใช้รับเสียง
2.1.1. Dynamic Microphone
2.1.2. Ribbon/Ribbin Microphone
2.1.3. Condenser/ElectretMicrophone
2.1.4. carbon microphone
2.1.5. crystal/ ceramic microphone
2.2. แบ่งตามทิศทางของการรับเสียง
(Polar pattern)
2.2.1. Omnidirectional /NonDirectional Microphone
2.2.2. Unidirectional Microhone
- Cardiod M
- Super Cardiod or Hyper cardiod
- Ultra Direction / Gun Microphone/ShotGun Mic
2.2.3. Bi-Directional M
2.2.4. ชนิดปรับทิศทางได้
แบบรับเสียงได้รอบตัว
แบบปรับทิศทางของการรับเสียงได้
2.3. แบ่งตามความไวในการรับเสียง
(sensitivity)
- ความไวสูงมาก เช่น gun mic, palabolic mic
AKG CK 69-ULS (Shotgun)
long gun mic
- ความไวสูง เช่น boom mic
- ความไวปานกลาง
- ความไวต่ำ เช่น lib mic, vocal mic
2.4. แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
- hand held/hand microphone
- Megaphone(โทรโข่ง)
แบบตั้งโต๊ะ(desktop microphone)
- stand mic
- zoom mic
- wireless mic
- Boom mic
- headset
- clip tie microhone/ lavalier/chest
ใช้ใน Studio
- microphone เฉพาะงานเช่น กับเครื่องดนตรี เช่น violine,
bass drum mic etc.
violine Mic
kick drum mic
stereo microphone
Stereo microphone
4. แบ่งตาม impedance
- Low Impedance (less than 600Ω)
- Medium Impedance (600Ω - 10,000Ω)
- High Impedance (greater than 10,000Ω)
Accessory
Windscreen
Shock Mount
N 62 E AC phantom power supply for two condenser microphones
PF 80 Universal pop screen for vocal-recording microphones
ตัวอย่าง Spec ไมโครโฟน
Boundary Microphone
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การพิจารณาคุณลักษณะของไมโครโฟน
จากสเปคจะทำให้ทราบว่า1. ประเภทของไมโครโฟน เช่น ริบบ้อน คอนเดนเซอร์ หรือไดนามิค เป็นต้น
2. ทราบมุมในการรับเสียงเช่น รอบตัว ทางเดียว สองทาง
3. ทราบลักษณะการนำไปใช้งาน เช่นในสตูดิโอ นอกสถานที่ หรือแบบติดหน้าอก(chest microphone)
4. ทราบการตอบสนองความถี่ เพื่อให้เหมาะกับลักษณะงานเช่นเสียงพูด เสียงทั่วไป เสียงเครื่องดนตรีเช่น
ไวโอลิน
Figure 1: ตัวอย่างการตอบสนองความถี่ของไมโครโฟน DPA Type 4006 ชนิดรับเสียงรอบตัว การตอบสนองความถี่อยู่ระหว่าง On-axis: 20Hz - 20kHz ±2dB.
5. ทราบกำลังออก(out put) ไมโครโฟนที่ดีเยี่ยม กำลังออกไม่เกิน -53 dBm(db)
6. ทราบเอ้าท์พุทอิมพีแดนซ์
7. ทราบความไวของไมโครโฟน(sensitivity)
8. ทราบถึงลักษณะการใช้งานพิเศษ เช่นสวิตซ์ voice/music
9. ทราบถึงลักษณะของขั้วต่อสาย เช่นแคนนอนหรือ XLR เป็นต้น
10. ทราบคุณลักษณะพิเศษ
เช่นฉายกันเสียงลม(wind screen) ทำเสียงก้อง บางตัวเป็นได้ทั้งไร้สายและชนิดมีสาย
11. ทราบอุปกรณ์ที่ให้มาด้วย ว่ามีอะไรบ้างและเท่าไรเช่นสายไมโครโฟน
12. ทราบถึงลักษณะที่จำเป็นอื่นๆ เช่น น้ำหนัก วัสดุที่ใช้ทำ
13. ยี่ห้อและตัวแทนจำหน่าย
-------------------------------
The deciBel (dB) Scale
ไมโครโฟนมักจะบอกค่า dB ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบกับการได้ยินของมนุษย์ การเรียกเป็นdBจะดูเข้าใจง่ายกว่าการใช้ค่าของแรงกด(Pascal, Newton or Bar). ค่าของ dB scale จะบอกถึงสัดส่วนของค่าของแรงกดที่มีต่อไมโครโฟน ส่วนใหญ่เป็นค่า 20 µPa ซึ่งค่าแรงกดที่ 20 µPa จะเทียบเท่ากับ 0 dB ซึ่ง 0 dBไม่ได้มีความหมายต่อความดังใด ๆ เลย
Frequency Response
การตอบสนองความถี่ เป็นการบอกถึงความสามารถในการรับความถี่ต่างๆ ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังอาจจะดูได้จากกราฟของบริษัทผู้จำหน่าย ว่าความมถี่ที่รับได้นั้นราบเรียบได้ดีเพียงใด
ในสเปคที่ละเอียด อาจจะพบการรับเสียงจากหลายแหล่งเสียงและหลาย ๆ ชนิดและหลายทิศทาง
Figure 1: Frequency Response of a DPA Type 4006 Omnidirectional Microphone. Frequency Range: On-axis: 20Hz - 20kHz ±2dB.
Equivalent Noise-Level
เป็น noise ที่เกิดขึ้นในตัวไมโครโฟนนั้น ๆ
E
Figure 3: DPA Type 4006 Omnidirectional Microphone
Example: DPA Type 4011, Cardioid Microphone, P48:
SPL handling capability
หมายถึงความสามารถของไมโครโฟนที่รับเสียงที่ดังที่สุดที่ไม่เสียหาย ได้จำนวนความดังกี่เดซิเบล
Conclusion
สเปคคงไม่สามารถบอกอะไรได้ทั้งหมดโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพของเสียง
ตัวอย่างไมโครโฟนยี่ห้อ AKG
http://www.broadcast.harris.com/product_portfolio/prod_media/AKGC414B-ULS.pdf
การใช้งานและการรักษาไมโครโฟน
- การใช้งานทั่ว ๆ ไป
- PROXIMITY EFFECT หมายถึงการเกิดผลจากการที่นักร้องร้องเพลงใกล้ไมโครโฟนทำให้เกิดเสียงทุ้มมากขึ้น ดังนั้นระยะที่พอเหมาะกับน้ำเสียง นักร้องหรือผู้ที่ใช้ไมโครโฟนที่ชำนาญจะทราบระยะที่พอเหมาะกับน้ำเสียงของตนเอง
- การใช้งานเฉพาะอย่าง
- ไมโครโฟนไดนามิค ส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานสำหรับ live และระยะไม่เกิน 6 ฟุต เสียงไม่ค่อยได้รายละเอียดมากนัก
- แต่ไมโครโฟนริบบ้อนจะให้รายละเอียดได้มาก แต่ค่อนข้างเปราะบางกว่าไดนามิค และราคาแพง
- capacitor microphone ในปัจจุบันมีคุณภาพดีขึ้นมาก ถ้าต้องการใช้เป็น vocal microphone ควรเลือก diaphame โต ๆ ใช้แหล่งจ่ายไฟ phantom power 48V ซึ่งในปัจจุบันที่ mixer มักจะมีแหล่งจ่ายไฟ phantom power ไว้ให้กับไมโครโฟนคาพาซิเตอร์(capacitor microphone)มีความไวสูง และสามารถเลือกมุมในการรับเสียงได้ง่ายกว่าไดนามิค อย่างไรก็ตามไมโครโฟน capacitor จะมีราคาสูงกว่า dynamic
- electret microphone ก็เป็นไมโครโฟน capacitor ชนิดหนึ่ง
**** ต้องระมัดระวังอย่าต่อไมโครโฟนไดนามิคหรือ ribbon microphone กับแหล่งจ่ายไฟ phantom power ที่สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงให้กับไมโครโฟนคอนเด็นเซอร์ โดยเด็ดขาด แหล่งจ่ายนี้อาจจะมาจากแหล่งจ่ายโดยเฉพาะหรือจาก mixer เพราะจะทำให้ไมโครโฟนชำรุดทันทีที่ต่อหรือเสียบไมโครโฟนเข้ากับเครื่องขยายเสียงหรือmixer เนื่องจากแรงไฟตรงสามารถทำลายขดลวดได้ในพริบตา
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
คอห่าน
windshield
Pop Filter (อุปกรณ์ลดเสียงระเบิด เช่นเสียงตัว 'พ' P เป็นต้น)
ติด Shock mount(กันสะเทือน)
Mic Clip ขาจับไมโครโฟนชนิดหนีบ
References and recomend articles (เอกสารอ่านเพิ่มเติม)
Belgi.How to read microphone specifications
http://www.std.com.tr/bilgi/microphone_specifications.htm
http://www.sorcerersound.com/phot_160.htm
microphone university
Mikkel Nymand (Tonmeister)
http://www.livesoundint.com/archives/2002/septoct/back/back.php
http://www.audio-technica.com/prodpro/profiles/AT4050.html Specification
AKG Full catalogue 2003(208 Pages) http://www.akg.com/mediendatenbank/psfile/mediafile/21/full_line_3e5a145a4266a.pdf
เครดิตจาก ; www.cybergogy.com/somsit/423231EdTEquipOpr/Microphone.html
0 comments:
แสดงความคิดเห็น